เป็นคำที่ใช้เรียกแทน คน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ ความรู้สึก อารมณ์ สภาวะ ซึ่งคำนามมีทั้งรูปธรรมที่สามารถจับต้องได้ และนามธรรมที่ไม่สามารถจับต้องได้
singular noun คือ นามเอกพจน์ หมายถึง นามที่มีจำนวนเดียว
Plural noun คือ นามพหูพจน์ หมายถึง นามที่มีหลายจำนวน
Pronoun ก็คือ คำสรรพนาม
สรรพนามมีหน้าที่อะไร?
คำสรรพนาม มีหน้าที่ใช้แทนคำนาม เพื่อเป็นการเลี่ยงการใช้คำนามเดิมๆซ้ำอีก
ได้แก่
1. Personal Pronoun บุรุษสรรพนาม คือ สรรพนามที่ใช้แทนคำนาม ได้แก่ คน สัตว์ สิ่งของ สถานที่
2. Possessive Pronoun สามีสรรพนาม คือ สามีสรรพนาม หรือ คำสรรพนามที่ใช้แสดงความเป็นเจ้าของนั่นเอง
3. Reflexive Pronouns สรรพนามสะท้อนตัวเอง คือ สรรพนามที่ใช้บอกการกระทำว่าทำเอง หรือทำเพื่อตัวเอง มักแปลว่า เอง หรือ ด้วยตัวเอง จะเป็นตัวใครก็ขึ้นอยู่กับคำสรรพนามนั้นๆ
4. Reciprocal Pronoun สัมพันธสรรพนาม คือ สรรพนามที่แสดงความสัมพันธ์ต่อกันและกัน หมายความว่า พวกเขากระทำต่อกันอย่างไร
5. Relative Pronoun ประพันธสรรพนาม คือ สรรพนามที่ใช้ทั้งแทนคำนาม และเชื่อมประโยคเข้าด้วยกัน
6. Definite Pronoun นิยมสรรพนาม คือ คำสรรพนามที่ชี้เฉพาะเจาะจงลงไปเลย
7. Indefinite Pronoun คือ สรรพนามที่ไม่เจาะจง ซึ่งตรงกันข้ามกับ definite pronoun
8. Interrogative Pronoun ปุจฉาสรรพนาม คือ สรรพนามที่ใช้เป็นคำถาม
9. Distributive Pronoun วิภาคสรรพนาม คือ คำสรรพนามที่แสดงการจำแนก
Adjective Function คือ หน้าที่ของคำคุณศัพท์ จะทำหน้าที่ขยายคำนาม คือ คน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ เพื่อบอกให้รูว่ามีลักษณะเป็นเช่นไร เช่น สูง ต่ำ ดำ ขาว เป็นต้น
Adjective แบ่งออกเป็น 3 ระดับหรือ 3 ขั้นด้วยกัน คือ
◊ คุณศัพท์ขั้นปกติ หรือขั้นเท่ากัน A positive adjective คือ การใช้คำคุณศัพท์บรรยายสิ่งใดสิ่งหนึ่งโดยไม่เปรียบเทียบกับใครที่ไหน
◊ คุณศัพท์ขั้นกว่า Comparative Adjective
คือ การเปรียบเทียบสิ่งสองสิ่ง ว่าสิ่งไหน สูง ต่ำ สั้น ยาว เล็ก ใหญ่…..กว่ากัน
◊ คำคุณศัพท์ขั้นที่สุด Superlative adjective
ขั้นที่สุด หรือสูงสุด คือ การเปรียบเทียบตั้งแต่สามขึ้นไป แล้วปรากฏว่า มีสิ่งหนึ่งที่ สูง ต่ำ สั้น ยาว เล็ก ใหญ่….กว่าเพื่อนเลย
Verb คือ คำหรือกลุ่มคำที่บรรยาย การกระทำ สถานะ หรือประสบการณ์
1. สกรรมกริยา (Transitive Verb) และ อกรรมกริยา (Intransitive Verb)
– สกรรมกริยา (Transitive Verb) คือกริยาที่ต้องมากรรมมารับ มิฉะนั้นจะไม่สามารถสื่อความหมายได้สมบูรณ์
2. กริยาแท้ (Main Verb) และ กริยาช่วย (Helping Verb)
– กริยาแท้ (Main Verb) หรือกริยาหลักของประโยค ถ้าในประโยคนั้นๆมีคำกริยาตัวเดียว จะไม่ใช่ปัญหาใดๆ เพราะคำกริยาที่ปรากฎ มันก็คือกริยาหลักของประโยคนั้นเอง
3. กริยาปกติ (Regular Verb)และ กริยาปกติ
กริยาปกติ (Regular Verb) คือ คำกริยาที่เติม ed ต่อท้าย ในช่อง 2 และ 3 ซึ่งเป็นการง่ายสำหรับผู้เรียน ถ้าจะผันกริยา เพราะแค่เติม ed ต่อท้ายแค่นั้นเอง
Adverb คือคำกริยาวิเศษณ์ มีหน้าที่
1.ขยายคำกริยา
บอกให้รู้ว่า ทำที่ไหน ทำเมื่อไหร่ ทำอย่างไร ทำบ่อยแค่ไหน
2.ขยายคำคุณศัพท์ และขยายกริยาวิเศษณ์เอง
บอกให้รู้ว่าอยู่ใน ระดับไหน หรือเน้นย้ำว่าแค่ไหน
preposition คือคำผสมระหว่าง
pre แปลว่า ก่อน
position แปลว่า ตำแหน่ง
สองคำนี้รวมกันแปลว่า ตำแหน่งก่อนหน้า ซึ่งจริงๆแล้วมันก็เป็นดังชื่อนี่แหละ เพราะการใช้ preposition มันจะ “นำหน้า” คำนาม สรรพนาม หรือ กริยา เพื่อบ่งบอกความสัมพันธ์ระหว่างคำ ซึ่งในหลักภาษาไทยครูมักจะยกตัวอย่างว่า คำบุรพบทได้แก่ แก่ เพื่อ ต่อ
หลักการใช้ Preposition
1. Preposition บ่งบอกเวลา
2. Preposition บ่งบอกสถานที่
3. Preposition บ่งบอกทิศทาง
4. Preposition บ่งบอกวิธีการ
5. Preposition บ่งบอกเหตุผล
Conjunction คือ คำสันธาน ซึ่งเป็นคำที่ทำหน้าที่เชื่อมคำ วลี ประโยคเข้าด้วยกัน เพื่อให้ประโยคดูสละสลวย
Conjuction แบ่งออกเป็น 3 ประเภทหลักๆคือ
1. Coordinating conjunctions
เชื่อมประโยคที่มีน้ำหนักเท่ากัน เข้าด้วยกัน
2. Subordinating Conjunctions
3. Correlative Conjunctions
Interjections เป็นคำที่ไว้ใช้แสดงความรู้สึกและอารมณ์ต่างๆ ให้ชัดเจนยิ่งขึ้น
➡ Subject exercises 'Part of speech'
Add 'Noun, Pronoun, Verb, Adverb, Adjective, Preposition, Conjunction and Interjection'
to the space to match the underlined word correctly.
..........1. The have to believe in 'Yourself' if you ever expect to be successful at something.
..........2. We 'Left' for the mountain just before six in the morning.
..........3. We first went 'To' the store to buy a few things.
..........4. We had a 'Breakfast' at a café near the rail station.
..........5. My friend wasn't strong enough to lift his 'Heavy' rucksack.
..........6.I helped him carry 'It'.
..........7. The weather was 'Very' cold.
..........8. My friend said, "'Oh'! What a cold weather!"
..........9. We didn't spend the night 'There'.
..........10. We got back home late at night 'But' we didn't go to sleep immediately. We were very hungry.
Answer
1. Pronoun
2. Verb
3. Preposition
4. Noun
5. Adjective
6. Pronoun
7. Adverb
8. Interjection
9. Adverb
10. Conjunction
Cr. www.e4thai.com
2. Verb
3. Preposition
4. Noun
5. Adjective
6. Pronoun
7. Adverb
8. Interjection
9. Adverb
10. Conjunction
Cr. www.e4thai.com
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น